ภาคผนวกที่ 2 เนื้อหาสังเขปของการฝึกอบรม

1. ความรู้ความสามารถและทักษะรายวิชา

1.1 อาชีวเวชศาสตร์พื้นฐาน (Basic Principle of Occupational Medicine)

ศึกษาวิชาอาชีวเวชศาสตร์พื้นฐานภาคทฤษฎี ประกอบด้วยเนื้อหาวิชาดังนี้

  1. อาชีวเวชกรรมเบื้องต้น งานสุขภาพ การเกิดโรค การเกิดอุบัติเหตุ
    1. สภาวะการทำงานและสิ่งแวดล้อมกับการทำงานเยี่ยงมนุษย์
    2. สุขภาพความปลอดภัยในการทำงานกับอนุสัญญาและข้อแนะขององค์การแรงงานระหว่างประเทศ
    3. ความเชื่อที่ผิด ๆ เช่นในเรื่อง
      • ค่าขีดจำกัดความเข้มข้นของสิ่งคุกคามต่อสุขภาพกับการเกิดโรคเหตุอาชีพ
      • อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล
      • โรคจากการประกอบอาชีพรักษาให้หายได้
      • ความประมาทของคนงานกับการเกิดโรคและบาดเจ็บเหตุอาชีพ
    4. อาชีวเวชศาสตร์
    5. บทบาทและหน้าที่ของแพทย์ในด้านอาชีเวชศาสตร์
  2. พ.ร.บ. ประกันสังคม
    • ประเด็นที่สำคัญของ พ.ร.บ. ประกันสังคม
    • บทบาทและหน้าที่ของแพทย์ที่เกี่ยวข้องกับ พ.ร.บ. ประกันสังคม
  3. พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ร.บ. ความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงาน และพ.ร.บ. เงินทดแทน
    • ประเด็นที่สำคัญของ พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ร.บ. ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน และ พ.ร.บ. เงินทดแทน
    • บทบาทและหน้าที่ของแพทย์ที่เกี่ยวข้องกับ พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ร.บ. ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน และพ.ร.บ. เงินทดแทน
    • การประเมินการสูญเสียสมรรถภาพ
  4. พ.ร.บ. วัตถุอันตราย
    • ประเด็นที่สำคัญของ พ.ร.บ. วัตถุอันตราย
    • บทบาทและหน้าที่ของแพทย์ที่เกี่ยวข้องกับ พ.ร.บ. วัตถุอันตราย
  5. พ.ร.บ. โรงงาน
    • ประเด็นที่สำคัญของ พ.ร.บ. โรงงาน
    • บทบาทและหน้าที่ของแพทย์ที่เกี่ยวข้องกับ พ.ร.บ. โรงงาน
  6. พ.ร.บ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม
    • ประเด็นที่สำคัญของ พ.ร.บ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม
    • บทบาทและหน้าที่ของแพทย์ที่เกี่ยวข้องกับ พ.ร.บ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม
  7. พ.ร.บ. สาธารณสุข
    • ประเด็นที่สำคัญของ พ.ร.บ. สาธารณสุข พ.ศ. 2535
    • บทบาทและหน้าที่ของแพทย์ที่เกี่ยวข้องกับ พ.ร.บ. สาธารณสุข พ.ศ. 2535
  8. พ.ร.บ. ประกันภัย
    • ประเด็นที่สำคัญของ พ.ร.บ. ประกันภัย
  9. พ.ร.บ. ควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2562
    • สาระสำคัญของพ.ร.บ. ควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อม
    • บทบาทและหน้าที่ของแพทย์ที่เกี่ยวข้องกับ พ.ร.บ. ควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อม
    • ความหมายของคำว่า Occupational diseases และ Work-related diseases
    • ความหมายของโรคจากการประกอบอาชีพตามกฎหมาย
    • ระบาดวิทยาในประเทศไทย
    • ตัวอย่างของโรคจากการประกอบอาชีพในประเทศไทย
  10. การตรวจสุขภาพแรกเข้าทำงาน และการตรวจสุขภาพเป็นระยะ
  11. Factory visit and health examination surveys
  12. จริยธรรมของแพทย์ที่เกี่ยวข้องกับงานอาชีวเวชศาสตร์
  13. ระบาดวิทยาโรคจากการประกอบอาชีพ
  14. การเฝ้าระวังโรคจากการประกอบอาชีพ
  15. พิษวิทยาเบื้องต้น
  16. โรคพิษโลหะหนัก
  17. Agricultural Medicine
  18. อันตรายต่อสมรรถภาพการได้ยินเนื่องจากการทำงาน
  19. Toxic gas
  20. อันตรายต่อสมรรถภาพการมองเห็นเนื่องจากการทำงาน
  21. โรคที่เกิดจากสารตัวทำละลายอินทรีย์
  22. โรคมะเร็งจากการประกอบอาชีพ
  23. โรคทางระบบประสาทจากการทำงาน
  24. โรคปอดจากการประกอบอาชีพ
  25. Repetitive strain injury
  26. Occupational stress
  27. Neuropsychiatric test
  28. Ergonomics
  29. การตรวจทางห้องปฏิบัติการที่เกี่ยวกับโรคจากการประกอบอาชีพ
  30. การประเมินความพร้อมในการทำงานและการประเมินเพื่อกลับเข้าทำงาน
  31. Early detection of Occupational diseases
  32. Industrial hygiene
  33. Occupational Safety
  34. ระบบบันทึกข้อมูลทางการแพทย์อาชีวเวชศาสตร์
  35. อันตรายเนื่องจากรังสี
  36. อันตรายเนื่องจากความร้อน แสง การสั่นสะเทือน จากการทำงาน

1.2 ฝึกปฏิบัติงานอาชีวเวชกรรมที่คลินิกโรคจากการทำงานหรือคลินิกอาชีวเวชกรรม

  • วินิจฉัย รักษา และฟื้นฟูสมรรถภาพ ผู้ป่วยด้วยโรคและ/หรือการบาดเจ็บจากการประกอบอาชีพ และโรคเนื่องจากงาน
  • ประเมินสภาวะสุขภาพเพื่อความเหมาะสมกับการทำงานและกลับเข้าทำงานหลังการเจ็บป่วย/บาดเจ็บ
  • ประเมินการสูญเสียสมรรถภาพร่างกายและจิตใจจากการทำงาน
  • ฝึกใช้เครื่องมือการตรวจวัดสิ่งแวดล้อมในการทำงาน

1.3 อายุรศาสตร์

ฝึกอบรมที่สถาบันหรือโรงพยาบาลที่แพทย์สภารับรอง โดยให้มีการจัดกิจกรรมวิชาการด้านอาชีวเวชศาสตร์เป็นระยะๆ ตามความเหมาะสม และประกอบด้วยการฝึกอบรมดูแลผู้ป่วยและ/หรืออภิปรายปัญหาผู้ป่วยทางอาชีวเวชศาสตร์

  1. Pulmonary
    1. Occupational Lung Diseases
      • Pneumoconioses
      • Occupational Asthma
      • Hypersensitivity Pneumonitis
      • Byssinosis
      • Chronic Bronchitis and Emphysema
      • Acute and Chronic Respiratory Effects of Exposure to inhaled Toxic Agents
      • Occupational Lung Cancer
      • Occupational Lung Infectious Diseases
    2. Pulmonary function test
    3. Standards of interpretation and classification of chest radiographs in pneumoconiosis -- ILO classification
    4. Medical and laboratory assessment of respiratory impairment for disability evaluation
    5. Return to work
  2. Cardiology
    1. Cardiovascular Toxicology
    2. Cardiovascular Evaluation in Workers' fitness
      • Stress Exercise Test
    3. Medical Assessment of Cardiovascular Impairment for Disability Evaluation
    4. Return to work
  3. Dermatology
    1. Occupational Skin Disorders
      • Irritant Contact Dermatitis
      • Allergic Contact Dermatitis
      • Contact Urticaria
      • Work -- Aggravated Dermatoses
      • Occupational Vitiligo
      • Occupational Raynaud's Disease
      • Cutaneous Malignancy
      • Cutaneous Infections
    2. Skin Tests
    3. Medical Assessment of skin Impairment for Disability Evaluation
    4. Return to work
  4. Neurology
    1. Neurotoxicology
    2. Evaluation of Peripheral and Central Nervous System Function
    3. Medical Assessment of Neurological Impairment for Disability Evaluation
    4. Return to work
  5. Toxicology
    1. Principles of Occupational (Industrial) Toxicology
      • Toxicokinetics
      • Inhalation Toxicology
      • Carcinogenesis
      • Toxicity Testing
      • Applications of Toxicology
      • Risk assessment
      • Biological Monitoring
      • Poison Control Center

1.4 ออร์โธปิดิกส์

ฝึกอบรมที่โรงพยาบาลหรือสถาบันที่แพทยสภารับรอง โดยให้มีการจัดกิจกรรมวิชาการอาชีวเวชศาสตร์เป็นระยะๆ ตามความเหมาะสม และประกอบด้วยการฝึกอบรมดูแลผู้ป่วยและ/หรืออภิปรายปัญหาผู้ป่วยทางอาชีวเวชศาสตร์ ดังนี้

  1. Trauma and Emergencies in the Workplace
  2. Cumulative Trauma Disorders of the Extremity
  3. Repetitive Strain Injury
  4. Ergonomics
  5. Medical Assessment of Musculoskeletal Impairment for Disability Evaluation
  6. Return to work

1.5 เวชศาสตร์ฟื้นฟู

ฝึกอบรมที่โรงพยาบาล หรือสถาบันที่แพทยสภารับรอง โดยให้มีการจัดกิจกรรมวิชาการอาชีวเวชศาสตร์เป็นระยะๆ ตามความเหมาะสม และประกอบด้วยการฝึกอบรมดูแลผู้ป่วยและ/หรืออภิปรายปัญหาผู้ป่วยทางอาชีวเวชศาสตร์ ดังนี้

  1. Impairment and Disability Evaluations
  2. Medical Rehabilitation
  3. Occupational Rehabilitation
  4. Return to work

1.6 สูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา

ฝึกอบรมที่โรงพยาบาลที่แพทยสภารับรองโดยให้มีการจัดกิจกรรมวิชาการอาชีวเวชศาสตร์เป็นระยะๆ ตามความเหมาะสมและประกอบด้วยการฝึกอบรมดูแลผู้ป่วยและ/หรืออภิปรายปัญหาผู้ป่วยทางอาชีวเวชศาสตร์ดังนี้

  1. Reproductive Toxicology and Occupation/Environmental Exposure
  2. Women in the Workplace
  3. Pregnancy and Work
  4. Reproductive consideration in Work's Fitness and Risk Evaluation
  5. Return to work

1.7 จักษุวิทยา

ฝึกอบรมที่โรงพยาบาลที่แพทยสภารับรองโดยให้มีการจัดกิจกรรมวิชาการอาชีวเวชศาสตร์เป็นระยะๆ ตามความเหมาะสมและประกอบด้วยการฝึกอบรมดูแลผู้ป่วยและ/หรืออภิปรายปัญหาผู้ป่วยทางอาชีวเวชศาสตร์ดังนี้

  1. Eye Injuries due to Physical and Chemical Agents
  2. Visual Fitness test
  3. Assessment of Visual impairment for Disability Evaluation
  4. Return to work

1.8 โสต ศอ นาสิก ลาริงซ์วิทยา

ฝึกอบรมที่โรงพยาบาลที่แพทยสภารับรอง โดยให้มีการจัดกิจกรรมวิชาการอาชีวเวชศาสตร์เป็นระยะๆ ตามความเหมาะสม และประกอบด้วยการฝึกอบรมดูแลผู้ป่วยและ/หรืออภิปรายปัญหาผู้ป่วยทางอาชีวเวชศาสตร์ ดังนี้ :-

  1. Occupation Hearing Loss
  2. Hearing Tests, Audiometry
  3. Hearing Conservation Program
    • Personal Hearing Protection
    • Audiometric Examination of Employees
  4. Assessment of Hearing Impairment for Disability Evaluation
  5. Return to work

1.9 จิตเวชศาสตร์

ฝึกอบรมที่โรงพยาบาลที่แพทยสภารับรองโดยให้มีการจัดกิจกรรมวิชาการอาชีวเวชศาสตร์เป็นระยะๆ ตามความเหมาะสม และประกอบด้วยเนื้อหาการฝึกอบรมดังนี้

  1. Assessment of Mental Stress Factors at Work
    • Occupational Stress
  2. Health and Safety in Shift Workers
  3. Diagnosis of absenteeism
  4. Neuropsychiatric Tests
  5. Mental and Behavioral Disorders Impairment Evaluation
    • Psychiatric Examination for Stress Claims and Impairment Ratings
  6. Return to work

2. ศึกษาหลักสูตรสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิตหรือเทียบเท่า

เพื่อศึกษาพื้นฐานความรู้ด้านอาชีวเวชศาสตร์และศึกษาการทำวิทยานิพนธ์ที่เกี่ยวข้องกับงานอาชีวเวชศาสตร์ สำหรับผู้ที่เคยศึกษาวุฒิดังกล่าวหรือเทียบเท่ามาแล้วอาจได้รับการพิจารณาให้ยกเว้น

  1. ศึกษาพื้นฐานอาชีวเวชศาสตร์ในหลักสูตรสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิตหรือเทียบเท่า
  2. การทำวิทยานิพนธ์ในหลักสูตรสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิตหรือเทียบเท่าตามที่กำหนดในหลักสูตร

3. ฝึกอบรมวิชาอาชีวเวชศาสตร์ภาคปฏิบัติ

ในสถาบัน โรงพยาบาล และโรงงานอุตสาหกรรม ที่แพทยสภารับรองระยะเวลาอย่างน้อย 12 เดือน คือ

3.1 ฝึกปฏิบัติงานอาชีวเวชกรรมในสถาบันและโรงพยาบาล ครอบคลุมกิจกรรม ดังต่อไปนี้

  • บริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคและ/หรือการบาดเจ็บแก่ผู้ประกอบอาชีพทุกสาขา
  • เฝ้าระวัง สอบสวน ควบคุม โรคและ/หรือการบาดเจ็บจากการประกอบอาชีพและโรคเนื่องจากงาน
  • วินิจฉัย รักษา และฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยด้วยโรคและ/หรือการบาดเจ็บจากการประกอบอาชีพ และโรคเนื่องจากงาน
  • ตรวจวัด แปลผลการตรวจสิ่งแวดล้อมในที่ทำงานและรอบสถานประกอบกิจการ
  • ประเมินสภาวะสุขภาพเพื่อความเหมาะสมกับการทำงานและกลับเข้าทำงานหลังการเจ็บป่วย/บาดเจ็บ
  • ประเมินการสูญเสียสมรรถภาพร่างกายและจิตใจจากการทำงาน
  • วางแผนและดำเนินการบริการอาชีวอนามัยและอนามัยสิ่งแวดล้อมในสถานบริการสาธารณสุข สถานประกอบกิจการและชุมชน รวมทั้งการเตรียมการและตอบโต้อุบัติภัย
  • เผยแพร่ฝึกอบรม ให้คำแนะนำ และคำปรึกษาเกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันอุบัติภัยและโรคจากการประกอบอาชีพ และการปรับปรุงภาวะแวดล้อมในการทำงาน
  • ฝึกปฏิบัติงานอื่นๆ ตามลักษณะเฉพาะของสถานฝึกปฏิบัติงาน

3.2 ฝึกปฏิบัติงานในสถานประกอบกิจการ

  1. การบริหารจัดการทั่วไปในโรงงาน
    1. ร่วมเป็นคณะกรรมการความปลอดภัยของสถานประกอบกิจการ เพื่อให้ข้อมูลหรือข้อคิดเห็นเกี่ยวกับกิจการของสถานประกอบกิจการ ซึ่งอาจมีผลเสียต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ จะได้ดำเนินการป้องกันตั้งแต่เริ่มต้น
    2. แพทย์ควรมีบทบาทในการร่วมสำรวจทั่วไปในสถานประกอบกิจการ เพื่อเฝ้าระวังและให้คำแนะนำเกี่ยวกับปัญหาที่อาจเกิดขึ้นแก่สุขภาพของพนักงานในแต่ละแผนกได้
  2. การจัดการทางสุขภาพ
    1. การสร้างเสริมสุขภาพ ได้แก่
      • การให้คำแนะนำเกี่ยวกับระบบงานและลักษณะการทำงานที่เหมาะสม
      • การให้ความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับพฤติกรรมสุขภาพที่ดี และการระวังป้องกันกับตนเองไม่ให้เกิดการเจ็บป่วยจากการทำงาน
      • การให้คำปรึกษาแนะนำเกี่ยวกับปัญหาสุขภาพแก่พนักงานและครอบครัวตามความเหมาะสม
      • การจัดกิจกรรมพิเศษต่างๆ เช่น การออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ, โภชนาการเพื่อสุขภาพ เป็นต้น
    2. การป้องกันโรค
      • การดูแลเกี่ยวกับการป้องกันโรคติดต่อทั่วไปในโรงงาน
      • การจัดวัคซีนป้องกันโรคติดเชื้อที่เกี่ยวข้องกับการประกอบอาชีพ เช่นงานปศุสัตว์ เป็นต้น
    3. งานบริการทางอาชีวเวชกรรม
      • การตรวจสุขภาพพนักงานก่อนรับเข้าทำงาน(Pre-employment examination)
      • การตรวจสุขภาพเมื่อจะบรรจุพนักงานในแต่ละแผนก หรือเมื่อมีการย้ายแผนก (Pre-placement examination )
      • การตรวจสุขภาพเป็นระยะ (Periodic medical examination) ในกรณีทั่วไป มักเป็นการตรวจสุขภาพพนักงานปีละครั้ง แต่ในบางงานอาจต้องมีการตรวจสุขภาพพนักงานทุก 3 เดือน หรือทุก 6 เดือน
      • การตรวจสุขภาพก่อนออกจากงาน (Pre-retirement examination) เป็นการตรวจสุขภาพก่อนที่พนักงานคนนั้นจะลาออกจากบริษัท/โรงงาน ซึ่งจะเป็นการตรวจยืนยันภาวะสุขภาพก่อนที่พนักงานคนนั้นจะไปทำงานอื่น
    4. การตรวจพิเศษทางสุขภาพ ได้แก่ การตรวจวิเคราะห์ปัญหาเฉพาะ เช่น
      • การตรวจสมรรถภาพการได้ยิน (Audiometry) เพื่อการเฝ้าระวังปัญหาประสาทหูเสื่อมในพนักงานที่ทำงานเกี่ยวข้องกับเสียงดัง
      • การตรวจสมรรถภาพการมองเห็น (Vision test) ในพนักงานที่ต้องทำงานใช้สายตามากเป็นพิเศษ
      • การตรวจสมรรถภาพการทำงานของปอด (Pulmonary Function test) ในพนักงานที่ทำงานเกี่ยวข้องกับฝุ่น หรือก๊าซต่าง ๆ
      • การตรวจเลือดและปัสสาวะพนักงานที่ทำงานเกี่ยวข้องกับสารเคมีบางชนิด เช่นสารตะกั่ว แมงกานีส ปรอท เบนซีน โทลูอีน เป็นต้น
      • การตรวจพิเศษอื่น ๆ
    5. การตรวจรักษาโรคและการบาดเจ็บ ได้แก่
      • การตรวจรักษาโรคเจ็บป่วยทั่วไป
      • การตรวจรักษาโรคเจ็บป่วยเรื้อรัง เช่น โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน เป็นต้น
      • การตรวจรักษาโรค และการบาดเจ็บจากการทำงาน
      • การส่งพนักงานที่เจ็บป่วยหนักไปรับการรักษาที่โรงพยาบาล
      • การดูแลฟื้นฟูสมรรถภาพพนักงานที่บาดเจ็บจนสามารถกลับเข้าทำงานได้ตามปกติ หรือแนะนำการย้ายแผนกตามความเหมาะสม
  3. การดูแลเกี่ยวกับปัญหากฎหมายทางสุขภาพและประโยชน์ทดแทนต่างๆ เช่น
    1. การลาป่วยของพนักงาน
    2. การออกใบรับรองแพทย์
    3. เงินทดแทนกรณีบาดเจ็บหรือป่วยจากการทำงานตามพ.ร.บ.เงินทดแทน
    4. การเจ็บป่วยและประโยชน์ทดแทนตาม พรบ. ประกันสังคม
    5. การดูแลการจัดเก็บเวชระเบียน และอื่น ๆ
    6. ค่าใช้จ่ายทางการแพทย์/สวัสดิการอื่น ๆ
  4. การตรวจวัดสิ่งแวดล้อมและการแปลผล ได้แก่
    • การตรวจวัดสิ่งแวดล้อมในการทำงาน เช่น การวัดแสง เสียง ความร้อน ความชื้น ฝุ่น สารเคมี เป็นต้น
    • การตรวจวัดสิ่งแวดล้อมรอบสถานประกอบกิจการ เช่น การตรวจอากาศ และน้ำที่ปล่อยออกจากสถานประกอบกิจการ เป็นต้น

3.3 ฝึกปฏิบัติงานกองโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม และหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้อง